1. ที่หน้า Outlook ให้ไปที่ Setting (1) แล้วกดที่ View all Outlook settings (2)
2. ที่หน้า Setting ให้เลือกที่ Compose and reply แล้วทำการใส่ข้อมูล Email Signature
3. หลังจากใส่ข้อมูลเสร็จให้ติ๊กถูกทั้ง 2 Option ดังรูป
จะเป็นการ เพิ่ม Signature ให้เวลาที่สร้างข้อความใหม่ หรือ เวลาจะส่งต่อ email หรือ ตอบกลับข้อความนั้นๆ
4. เสร็จสิ้นการสร้าง Signature
วันจันทร์ที่ 30 มีนาคม พ.ศ. 2563
วันพุธที่ 18 มีนาคม พ.ศ. 2563
เขียน Script Restart และ Shutdown PC
ทำการเปิดโปรแกรม notepad แล้วพิมพ์ ดังนี้
c:\Windows\System32\shutdown -f -s -t 0
แล้วทำการ save เป็นชื่อ shutdown.bat
-f คือ การบังคับปิดโปรแกรมที่เปิดค้างไว
-s คือ shutdown
-t คือ หน่วงเวลาที่จะให้รันคำสั่ง เช่น 0 คือให้ดำเนินการเลย หรือถ้า 5 คือ 5 วินาที ถึงจะเริ่มดำเนินการ
หมายเหตุ ถ้าต้องการ restart ให้เปลี่ยนจาก -s เป็น -r จะเปลี่ยนจากการ shutdown เป็น restart
หลังจากได้ไฟล์ shutdown.bat แล้วนำไปใส่ไว้ที่ Task schedule ของ Windows เพื่อทำการตั้งเวลาเพื่อที่จะให้ script shutdown.bat นี้ทำงานตอนไหน
c:\Windows\System32\shutdown -f -s -t 0
แล้วทำการ save เป็นชื่อ shutdown.bat
-f คือ การบังคับปิดโปรแกรมที่เปิดค้างไว
-s คือ shutdown
-t คือ หน่วงเวลาที่จะให้รันคำสั่ง เช่น 0 คือให้ดำเนินการเลย หรือถ้า 5 คือ 5 วินาที ถึงจะเริ่มดำเนินการ
หมายเหตุ ถ้าต้องการ restart ให้เปลี่ยนจาก -s เป็น -r จะเปลี่ยนจากการ shutdown เป็น restart
หลังจากได้ไฟล์ shutdown.bat แล้วนำไปใส่ไว้ที่ Task schedule ของ Windows เพื่อทำการตั้งเวลาเพื่อที่จะให้ script shutdown.bat นี้ทำงานตอนไหน
วิธีการติดตั้ง Webmin บน Debian 10/9/8 (Web Management Debian)
Step 1 เพิ่ม APT Repository
ทำการเพิ่ม APT Repository ที่ /etc/apt/sources.list (ใช้สิทธิ์ Root)
{user@SSL:~}$ su - (พิมพ์แล้วทำการกด Enter และใส่ password root)
{root@SSL:~}# pico /etc/apt/sources.list
หลังจากเพิ่ม deb http://download.webmin.com/download/repository sarge contrib
deb http://webmin.mirror.somersettechsolutions.co.uk/repository sarge contrib
ทำการกด ctl+x (Control + x) แล้วพิมพ์ y เพื่อทำการบันทึก
Step 2 Import GPG Key
ก่อนที่จะทำการติดตั้ง Webmin ต้องทำการเพิ่ม GPG Key เข้าไปก่อน ถ้าไม่ทำขั้นตอนนี้ จะไม่สามารถติดตั้ง Webmin ได้
{root@SSL:~}# wget http://www.webmin.com/jcameron-key.asc
{root@SSL:~}# apt-key add jcameron-key.asc
Step 3 ทำการติดตั้ง Webmin
{root@SSL:~}# apt-get update
{root@SSL:~}# apt-get install webmin
เสร็จสิ้นการติดตั้ง Webmin โดยพอร์ต default คือ 10000 โดยสามารถเรียกเข้าไปจัดการ Webmin ได้ที่
https://ip-address-localhost:10000
จากตัวอย่างคือตัวที่ลง Webmin จะมี ip 192.168.17.48
หมายเหตุ เราสามารถเปลี่ยนพอร์ตของ Webmin ได้ โดยทำตาม ดังนี้
{root@SSL:~}# pico /etc/webmin/miniserv.conf
กำหนด Port เป็น 27508 หลังจากนั้นกด ctl + x และพิมพ์ y เพื่อบันทึก
เสร็จแล้วทำการ restart service webmin ดังนี้
{root@SSL:~}# /etc/init.d/webmin restart
ทดสอบเข้าใช้งาน Webmin โดยพอร์ต 27508
เสร็จสิ้นวิธีการติดตั้ง Webmin
How to reset password root Webmin
/usr/share/webmin/changepass.pl /etc/webmin root new_password_here
ทำการเพิ่ม APT Repository ที่ /etc/apt/sources.list (ใช้สิทธิ์ Root)
{user@SSL:~}$ su - (พิมพ์แล้วทำการกด Enter และใส่ password root)
{root@SSL:~}# pico /etc/apt/sources.list
หลังจากเพิ่ม deb http://download.webmin.com/download/repository sarge contrib
deb http://webmin.mirror.somersettechsolutions.co.uk/repository sarge contrib
ทำการกด ctl+x (Control + x) แล้วพิมพ์ y เพื่อทำการบันทึก
Step 2 Import GPG Key
ก่อนที่จะทำการติดตั้ง Webmin ต้องทำการเพิ่ม GPG Key เข้าไปก่อน ถ้าไม่ทำขั้นตอนนี้ จะไม่สามารถติดตั้ง Webmin ได้
{root@SSL:~}# wget http://www.webmin.com/jcameron-key.asc
{root@SSL:~}# apt-key add jcameron-key.asc
Step 3 ทำการติดตั้ง Webmin
{root@SSL:~}# apt-get update
{root@SSL:~}# apt-get install webmin
เสร็จสิ้นการติดตั้ง Webmin โดยพอร์ต default คือ 10000 โดยสามารถเรียกเข้าไปจัดการ Webmin ได้ที่
https://ip-address-localhost:10000
จากตัวอย่างคือตัวที่ลง Webmin จะมี ip 192.168.17.48
หมายเหตุ เราสามารถเปลี่ยนพอร์ตของ Webmin ได้ โดยทำตาม ดังนี้
{root@SSL:~}# pico /etc/webmin/miniserv.conf
กำหนด Port เป็น 27508 หลังจากนั้นกด ctl + x และพิมพ์ y เพื่อบันทึก
เสร็จแล้วทำการ restart service webmin ดังนี้
{root@SSL:~}# /etc/init.d/webmin restart
ทดสอบเข้าใช้งาน Webmin โดยพอร์ต 27508
เสร็จสิ้นวิธีการติดตั้ง Webmin
How to reset password root Webmin
/usr/share/webmin/changepass.pl /etc/webmin root new_password_here
วันอังคารที่ 17 มีนาคม พ.ศ. 2563
การติดตั้ง OpenVPN บนระบบปฏิบัติการ Debian 10
Step 1 อัพเดทระบบปฏิบัติการ
{root@SSL:~}# sudo apt update
{root@SSL:~}# sudo apt upgrade
Step2 ตรวจสอบ IP Address ของเครื่องที่จะติดตั้ง
{root@SSL:~}$ ip a
ข้อควรจำเกี่ยวกับ IP จะมี 2 ประเภท
1. Public IP > IP ที่ใช้เชื่อมต่อจริงๆ กับอินเตอร์เน็ต
2. Private IP > IP ที่ใช้งานภายใน Local เพื่อง่ายต่อการจัดการ ส่วนใหญ่จะอยู่หลัง Router
Step 3 ดาวโหลด และรัน OpenVPN Script
{root@SSL:~}# cd /tmp
{root@SSL:/tmp}# wget https://raw.githubusercontent.com/Angristan/openvpn-install/master/openvpn-install.sh -O debian10-vpn.sh
กำหนด Permission โดยใช้ chmod command
{root@SSL:/tmp}# chmod +x debian10-vpn.sh
สามารถอ่านหรือแก้ไข script ได้โดยใช้ vi/pico (Text Editor)
{root@SSL:/tmp}# pico debian10-vpn.sh
รัน debian10-vpn.sh เพื่อ install OpenVPN
{root@SSL:/tmp}# ./debian10-vpn.sh
จะทำการสร้าง client (กำหนดชื่อ LinuxDesktop)
จะได้ File LinuxDesktop.ovpn สามารถนำไฟล์นี้ไปเชื่อมต่อกับ OpenVPN Client ได้จากอินเตอร์เน็ตภายนอก เช่น
1. IOS > Apple Store
2. Android > Google Play
3. MAC > Tunnelblick
4. Windows > OpenVPN Client
หมายเหตุ หลังจากได้ไฟล์ .ovpn แล้วเราสามารถดาวโหลดไฟล์นี้ได้ แนะนำให้ติดตั้ง Webmin เพิ่มเติม เพื่อจะใช้งาน File Manager ในการดาวโหลดไฟล์ไปใช้งาน สามารถดูวิธีติดตั้งได้จากลิ้งครับ
วิธีการติดตั้ง Webmin
Step 4 แก้ไข File .ovpn เพื่อเปลี่ยนข้อมูล IP Remote ของ OpenVPN Server
ใช้ text editor vi/pico for Linux หรือ notepad for windows แก้ไขไฟล์ .ovpn ดังตัวอย่างใช้ pico
Remote = DDNS ของเร้าเตอร์ของวงเน็ตเวิร์คของคุณ และ พอร์ตของ OpenVPN โดยดังตัวอย่างคือ
remote pukky-it.blogspot.com 1194
Step 5 ทำการ Forward Port ที่เร้าเตอร์
- หลังจากได้ไฟล์ .ovpn แล้ว ต้องทำการ Forward Port UDP 1194 (สามารถเปลี่ยนพอร์ตได้) ที่เร้าเตอร์ เพื่อให้เวลาที่เราใช้โปรแกรม OpenVPN Client สามารถเชื่อมต่อเข้ามาได้
* จากตัวอย่างนั้น IP ของ OpenVPN Server คือ 192.168.17.48 (ขึ้นอยู่กับ IP ของเครื่อง Server ที่ลง OpenVPN) ดังนั้นเราจะ Forward Port UDP 1194 มาที่ IP 192.168.17.48
- ตั้งค่า DDNS เชื่อมต่อเร้าเตอร์ฝั่ง OpenVPN Server
DDNS คือ Dynamic Domain Name System คือการแปลงหมายเลขไอพีให้เป็นชื่อโดเมนหรือแปลงชื่อโดเมนให้เป็นหมายเลขไอพี เป็นการตั้งค่าที่ได้มาจากการ DynDNS (ไดดีเอ็นเอส) หรือย่อมาจาก Dynamic DNS (ไดนามิก ดีเอ็นเอส) สามารถทำให้เราเชื่อมโยง Host name (โฮสเนม) บนระบบอินเตอร์เน็ตเข้ากับ IP Address (ไอพีแอดเดรส) ที่เปลี่ยนแปลงของเร้าเตอร์ของเราได้ คือไม่ว่า IP ของเร้าเตอร์เราจะเปลี่ยนไปเมื่อไรก็ตาม แต่ถ้าเราทำการผูก เร้าเตอร์กับ DDNS แล้วเราจะสามารถเรียกเข้ามาที่เร้าเตอร์ของเราได้ตลอดเวลา
cr. : https://www.cyberciti.biz/faq/debian-10-set-up-openvpn-server-in-5-minutes/
cr.: How to Setup Debian 10
{root@SSL:~}# sudo apt update
{root@SSL:~}# sudo apt upgrade
Step2 ตรวจสอบ IP Address ของเครื่องที่จะติดตั้ง
{root@SSL:~}$ ip a
ข้อควรจำเกี่ยวกับ IP จะมี 2 ประเภท
1. Public IP > IP ที่ใช้เชื่อมต่อจริงๆ กับอินเตอร์เน็ต
2. Private IP > IP ที่ใช้งานภายใน Local เพื่อง่ายต่อการจัดการ ส่วนใหญ่จะอยู่หลัง Router
Step 3 ดาวโหลด และรัน OpenVPN Script
{root@SSL:~}# cd /tmp
{root@SSL:/tmp}# wget https://raw.githubusercontent.com/Angristan/openvpn-install/master/openvpn-install.sh -O debian10-vpn.sh
กำหนด Permission โดยใช้ chmod command
{root@SSL:/tmp}# chmod +x debian10-vpn.sh
สามารถอ่านหรือแก้ไข script ได้โดยใช้ vi/pico (Text Editor)
{root@SSL:/tmp}# pico debian10-vpn.sh
รัน debian10-vpn.sh เพื่อ install OpenVPN
{root@SSL:/tmp}# ./debian10-vpn.sh
จะทำการสร้าง client (กำหนดชื่อ LinuxDesktop)
จะได้ File LinuxDesktop.ovpn สามารถนำไฟล์นี้ไปเชื่อมต่อกับ OpenVPN Client ได้จากอินเตอร์เน็ตภายนอก เช่น
1. IOS > Apple Store
2. Android > Google Play
3. MAC > Tunnelblick
4. Windows > OpenVPN Client
หมายเหตุ หลังจากได้ไฟล์ .ovpn แล้วเราสามารถดาวโหลดไฟล์นี้ได้ แนะนำให้ติดตั้ง Webmin เพิ่มเติม เพื่อจะใช้งาน File Manager ในการดาวโหลดไฟล์ไปใช้งาน สามารถดูวิธีติดตั้งได้จากลิ้งครับ
วิธีการติดตั้ง Webmin
Step 4 แก้ไข File .ovpn เพื่อเปลี่ยนข้อมูล IP Remote ของ OpenVPN Server
ใช้ text editor vi/pico for Linux หรือ notepad for windows แก้ไขไฟล์ .ovpn ดังตัวอย่างใช้ pico
remote pukky-it.blogspot.com 1194
Step 5 ทำการ Forward Port ที่เร้าเตอร์
- หลังจากได้ไฟล์ .ovpn แล้ว ต้องทำการ Forward Port UDP 1194 (สามารถเปลี่ยนพอร์ตได้) ที่เร้าเตอร์ เพื่อให้เวลาที่เราใช้โปรแกรม OpenVPN Client สามารถเชื่อมต่อเข้ามาได้
* จากตัวอย่างนั้น IP ของ OpenVPN Server คือ 192.168.17.48 (ขึ้นอยู่กับ IP ของเครื่อง Server ที่ลง OpenVPN) ดังนั้นเราจะ Forward Port UDP 1194 มาที่ IP 192.168.17.48
- ตั้งค่า DDNS เชื่อมต่อเร้าเตอร์ฝั่ง OpenVPN Server
DDNS คือ Dynamic Domain Name System คือการแปลงหมายเลขไอพีให้เป็นชื่อโดเมนหรือแปลงชื่อโดเมนให้เป็นหมายเลขไอพี เป็นการตั้งค่าที่ได้มาจากการ DynDNS (ไดดีเอ็นเอส) หรือย่อมาจาก Dynamic DNS (ไดนามิก ดีเอ็นเอส) สามารถทำให้เราเชื่อมโยง Host name (โฮสเนม) บนระบบอินเตอร์เน็ตเข้ากับ IP Address (ไอพีแอดเดรส) ที่เปลี่ยนแปลงของเร้าเตอร์ของเราได้ คือไม่ว่า IP ของเร้าเตอร์เราจะเปลี่ยนไปเมื่อไรก็ตาม แต่ถ้าเราทำการผูก เร้าเตอร์กับ DDNS แล้วเราจะสามารถเรียกเข้ามาที่เร้าเตอร์ของเราได้ตลอดเวลา
cr. : https://www.cyberciti.biz/faq/debian-10-set-up-openvpn-server-in-5-minutes/
cr.: How to Setup Debian 10
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)